Loading...

สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 9 (อุดรธานี)

Environment and Pollution Control Office 9 (Udon Thani)

ขนาดอักษร
เปลี่ยนการแสดงผล C C C
TH EN
climate change

หมวดที่ 4 การจัดการของเสีย

หมวดที่ 4 การจัดการของเสีย

เกณฑ์การประเมิน

หลักฐานการดำเนินการ

4.1 การจัดการของเสีย  
   4.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และการจัดการขยะอย่างเหมาะสม มีแนวทาง การดำเนินงาน ดังนี้
     (1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจาก กิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะ ตามพื้นที่ทำงานต่างๆอย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่ม ตรวจสอบ
     (2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและ ชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ
     (3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ โดย จะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละเภทจากข้อ (๑) อย่างเพียงพอ
     (4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
     (5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับ อนุญาตตามกฎหมาย
     (6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)
     (7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)

   4.1.1(1) ประกาศ(หมวด 4)-มาตรการจัดการของเสีย

   4.1.1(2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

   4.1.1(3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ

   4.1.1(4) แบบสุ่มตรวจการทิ้งขยะ

   4.1.1(5) มีการส่งขยะให้ อปท.

   4.1.1(6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้าง

   4.1.1(7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน

   4.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาใช้ใหม่ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง
      (1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
      (2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละประเภท ครบถ้วนทุกเดือน
      (3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5
      (4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

  4.1.2(1) มีการนาขยะกลับมาใช้ใหม่

   4.1.2(2) ปริมาณขยะ ปี 62 -64

   4.1.2(3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่าเป้าหมายที่ได้กำหนด

   4.1.2(4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้มลดลง

4.2 การจัดการน้ำเสีย  
   4.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และ คุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่ เกี่ยวข้องโดยมีแนวทาง ดังนี้
      (1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล
      (2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรงดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับองค์ประกอบของน้ำเสีย
      (3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
      (4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
   4.2.1(1) บัญชีกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ
    4.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทาง ดังนี้
        (1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมีการตักและทำความสะอาดเศษอาหาร และไขมันออกจาก ตะแกรงดักขยะ หรือบ่อดักไขมันตามความถี่ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณและการปนเปื้อน
       (2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย หรือเศษอาหาร น้ำมันและไขมันจากถัง/บ่อดัก ไขมันไปกำจัดอย่างถูกต้อง
       (3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซมระบบบำบัด น้ำเสียให้สามารถใช้งานและมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
       (4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสียอย่าง สม่ำเสมอเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน้ำเสียไป ยังแหล่งอื่นๆ